ลักษณะข้อมูลสารสนเทศผู้ป่วยนอก



ลักษณะข้อมูลสารสนเทศผู้ป่วยนอก
             ข้อมูลที่เก็บในระบบฐานข้อมูลเวชระเบียนของสถานพยาบาลในประเทศไทย เป็นข้อมูลที่ใช้ได้เฉพาะแต่ละสถานพยาบาล ทาให้ผู้ป่วยจาเป็นต้องทาประวัติในสถานพยาบาลที่นั้น ๆ แต่ละแห่ง มีผลให้ข้อมูลไม่ตรงกันและไม่เป็นปัจจุบัน เมื่อเปลี่ยนสถานที่รักษาหรือมีการย้ายส่งตัวไปสถานพยาบาลอื่นก็จะต้องนาเอกสารข้อมูลผู้ป่วยไปด้วย ซึ่งต้องเสียเวลาและอาจเกิดข้อมูลสูญหายได้ จึงได้นาเทคโนโลยีด้านเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล และอินเตอร์เน็ต มาจัดเป็นระบบฐานข้อมูลกลางเวชระเบียนผู้ป่วย ที่จะทาให้ข้อมูลเวชระเบียนสามารถถูกจัดเก็บปรับปรุงและเรียกใช้งานได้จากทุกสถาพยาบาลร่วมกัน โดยที่ข้อมูลเวชระเบียนกลางนี้จะทาให้เกิด ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สามารถเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ทันที
*การบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ต้องมีข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยครบถ้วน เช่น วัน เดือน ปี เวลา ปัญหาการให้การรักษา การวินิจฉัยโรค หัตถการต่าง ๆ ส่วนสูง น้ำหนัก ความดันโลหิต และลายมือชื่อแพทย์ผู้รักษา เป็นต้น ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติข้อกำหนดของคณะ ฯ ที่คณะกรรมพัฒนาการบันทึกเวชระเบียน ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนทุกภาควิชา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ งานบริการพยาบาล งานเวชระเบียนและสถิติ งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร งานเภสัชกรรม งานพัสดุ  กำหนด
*แบบบันทึกที่กำหนดให้มีในเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ได้แก่
o  แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Form)
o  แบบบันทึกการตรวจและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่น ๆ
o  แบบฟอร์มสำหรับติดผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เอกซเรย์ ผลการตรวจพิเศษทางรังสีวิทยา และอื่น ๆ
o  แบบฟอร์มติดผลการตรวจ EKG (Electrocardiography Report) ถ้ามี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น