บทสรุป


บทสรุป
ระบบฐานข้อมูลกลางเวชระเบียนผู้ป่วยนอก จะรวมศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานพยาบาลต่าง ๆ ให้รวมอยู่ ณ ส่วนกลางหรือสถานพยาบาลที่เป็นแม่ข่าย ระบบฐานข้อมูลกลางนี้สถานพยาบาลในเครือข่ายสามารถเข้าใช้งานได้ เพื่อลดความซ้าซ้อนของข้อมูลที่อาจเกิดขึ้น จากการที่ผู้ป่วยเข้าทาการรักษาหลายสถานพยาบาล ทาให้ข้อมูลแต่ละสถานพยาบาลไม่มีการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน ข้อมูลที่ได้รับจากระบบนี้จะมีการอัพเดตตลอดเวลา เพื่อประโยชน์ในการเข้ารับรักษาของผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยสามารถไปสถานพยาบาลในเครือได้โดยที่ไม่ต้องขอประวัติการรักษาจากสถานพยาบาลในเครือที่เคยเข้ารับการรักษาก่อนหน้านี้ ไม่ต้องมีการลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่ อีกทั้งยังช่วยสถานพยาบาลลดต้นทุนในการจัดการกับข้อมูลที่เป็นสื่อกระดาษ
































เอกสารอ้างอิง
1. ชัยวงศ์ ชวนะรักษ์. ระบบเวชระเบียนแห่งชาติ. 2555. ได้จากURL:http://www.gotoknow.org /blogs/posts/53751 November 25 2012
2. Dennis Gottfrid. Electronic Medical Records: Their Time Has Not Yet Come. 2012. Available from: URL: http://www.huffingtonpost.com/dr-dennis-gottfried/electronic-medical-record_1_b_ 1749795.html November 12 2012.
3. กิจปพน ศรีธานี. ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์: สารสนเทศทางการแพทย์กับการใช้งาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2551
4. สุรศักดิ์ ก้องเกียรติกุล. รายงานสถิติโรค พ.ศ.2554, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการแพทย์. 2554. หน้า 1 – 3
5. Chun-Ju Hsiao, Esther Hing, Thomas C. Socey, and Bill Cai. Electronic Medical
Record / Electronic Health Record Systems of Office-based Physicians: United States. 2009 and Preliminary 2010 State Estimates. Available from: URL: http://www.cdc.gov/nchs/data/hestat/emr_ehr_09/emr_ehr_09.htm November 14 2012.
http://www.journal.msu.ac.th/upload/articles/article180_8581.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น